ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย :
Short Movie หนังสั้น
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ภาคเรียนที่ 1/2559 Quarter 2
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
สร้างแรงบันดาลใจ
|
มาตรฐาน ว 8.1
- สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้(ว
8.1/ป.5/1)
- บันทึกสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ
และโฆษณา ตามความเข้าใจของตนเองและสามารถอธิบายได้
(ว 8.1 ป.5/4)
- สามารถตั้งคำถามจากข่าวหรือบทความที่ได้อ่านและได้ฟังได้
(ว 8.1ป.5/5)
-สามารถแสดงความ
คิดเห็นร่วมกันจากข่าวหรือบทความที่ได้อ่านหรือฟังได้อย่างสมเหตุ
สมผล (ว 8.1 ป.5/6)
|
มาตรฐาน ส 5.2
อธิบายอิทธิพลของธรรมชาติที่ทำให้วิถีชีวิตของมนุษย์เปลี่ยน
ไปเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับตนเอง
(ส 5.2 ป.5/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
อธิบายความแตกต่างของสื่อและเทคโนโลยีในอดีตกับปัจจุบันได้อย่างสมเหตุ
สมผล
(ส 4.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ส 4.2
สามารถอธิบายอิทธิพลที่มาพร้อมกับสื่อที่ส่งผลสู่ตัวเราได้
(ส 4.2 ป.5/1)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- มีมารยาทในการฟังและยอมรับฟังความคิด
เห็นและความเชื่อที่แตกต่างในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ร่วม
กันได้ (ส 2.1 ป.5/1)
- เคารพมองเห็นคุณค่า
และความสำคัญของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน (ส 2.1 ป.5/3)
- มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและแสดงออก
ความคิดเห็นของตนเองได้ (ส 2.1ป.5/4)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงานแต่ละขั้นตอนอย่างถูกต้องเหมาะสม
(ง 1.1 ป.5/1)
-สามรถทำงานร่วมกับผู้อื่น
พร้อมกับยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นตลอดเวลาในการทำงานกลุ่มได้ (ง 1.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ง 2.1
-สามารถอธิบาย
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีและการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
(ง 2.1 ป.5/1)
-สามารถเลือกรับสื่อที่มีประโยชน์และนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำ
วันได้ อย่างสร้างสรรค์ และเหมาะสมได้
(ง 2.1 ป.5/3)
|
มาตรฐาน พ 1.1
อธิบายความสำคัญของสื่อและพัฒนาการ
ได้อย่างถูกต้อง
(พ 1.1 ป.5/1)
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ต่างๆได้อย่างมีเหตุผล
( พ 4.1 ป.5/3)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี (ศ 1.1 ป.5/3) - ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 1.1 ป.5/6) - บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 1.1 ป.5/7)
- สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการของรูป
และพื้นที่ว่าง (ศ 1.1 ป.6/5)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
- การแสดงแอ็คติ้งบทบาทสมมุติ
- กระบวนการและองค์ประกอบของสร้างหนังสั้น
|
มาตรฐาน
ว1.1
- สังเกตและอธิบายส่วนประกอบและโครงสร้างของกระบวนการสร้างหนังสั้นได้
(ว 1.1 ป.5/1) - อธิบายประโยชน์และโทษจากการรับรู้จากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อหนังสั้นได้ ( ว 1.1ป.5/2)มาตรฐาน ว 1.2 อธิบายและจำแนกสื่อโฆษณาในแต่ละประเภทพร้อมอธิบายลักษณะของสื่อได้ ( ว 1.2 ป.5/5)มาตรฐาน ว 3.1
อธิบายคุณสมบัติของสื่อประเภทต่างๆได้อย่างมีเหตุผล
( ว 3.1 ป.5/1)
มาตรฐาน ว 6.1
อธิบายความสำคัญและการกำเนิดสื่อหนังสั้นได้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้ ( ว 6.1ป.5/4)มาตรฐาน ว8.1 สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับผลกระทบ และประโยชน์ จากสื่อหนังสั้นได้ (ว 6.1 ป.5/1) |
มาตรฐาน ส 1.1
เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามแบบอย่างที่ดี ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากสื่อสร้างสรรค์ ( ส 1.1ป.5/3)มาตรฐาน ส3.2 - อธิบายบทบาทหน้าที่และความสำคัญ เบื้องต้นของสื่อกระบวนการสร้างหนังสั้นอย่างมีเหตุผล ( ส 3.2 ป.5/1) - สามารถอธิบายและจำแนกข้อดี ขอเสียจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างเหมาะสม ( ส 3.2 ป.5/2) |
มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถค้นหาข้อมูลสื่อหนังสั้นจากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลายได้ ( ส 4.1 ป.5/1) - สามารถนำความเข้าใจจากการค้นหาข้อมูลมาอธิบาย ที่มาของสื่อได้อย่างเหมาะสม ( ส 4.1 ป.5/2) - อธิบายความแตกต่างระหว่างความจริงกับความเท็จเกี่ยวกับเรื่องราวที่ปรากฏตามสื่อต่างๆได้ ( ส 4.1 ป.5/3) มาตรฐาน ส 4.3 อธิบายพัฒนาการความเปลี่ยนแปลงของ สื่อโฆษณา อดีตถึง
ปัจจุบัน ได้อย่างเหมาะสม
( ส 4.3 ป.5/1)มาตรฐาน ส 5.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ อิทธิพลของสื่อโฆษณาที่มีผลต่อสภาพ ร่างกายจิตใจ และสังคมได้ ( ส 5.2 ป.5/2) |
มาตรฐาน ส 2.1
สามารถเสนอวิธีการปกป้องตนเองและผู้อื่นจากการละเมิดสิทธิต่างๆ จากการใช้สื่อโฆษณาอย่างเหมาะสม( ส 2.1ป.5/2)
มาตรฐาน ส 2.2
วิเคราะห์สังเคราะห์ประโยชน์และโทษ ที่ ตนเองและสังคม ได้จากสื่อหนังสั้น ( ส 2.2 ป.5/3 )
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน (4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- สามารถอธิบายกระบวนการทำงานที่รับผิดชอบได้อย่างถูกต้อง ( ง 1.1 ป.5/1)
- ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งสมาชิกในกลุ่มและสมาชิกในชั้น
( ง 1.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ง 2.1 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยี ในชีวิตประจำวันได้อย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม ( ง 2.1 ป.5/5) |
มาตรฐาน พ 2.1
สามารถระบุพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์และไม่พึ่งประสงค์ตลอดจน การแก้ปัญหาความขัดแย้งในการทำงานเป็นกลุ่มได้ ( พ 2.1 ป.5/3) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- อธิบายเกี่ยวกับตำแหน่งบุคคลหรือสิ่งของที่ปรากฏในสื่อต่างๆได้อย่างเหมาะสม ( ศ 1.1 ป.5/1) - วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแรง เงา น้ำหนัก และวรรณะสีในการทำงานได้ ( ศ 1.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ศ 2.1
สามารถเลือกดนตรีประกอบในการใช้สร้างโฆษณา หรือหนังสั้น เพื่อสื่อถึงอารมณ์ของการแสดง ( ศ 2.2ป.5/1)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์อย่างน้อย 2 ลักษณะ ในการแก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการ
(ง 2.1 ป.5/4)
มาตรฐาน ง 3.1
- ค้นหา
รวบรวมข้อมูลที่สนใจและประโยชน์จากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือ
ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
(ง 3.1 ป.5/1)
- บอกหลักการเบื้องต้นของการแก้ไขปัญหา
(ง 3.1 ป.6/1)
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
- เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฎศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
(ศ 3.1 ม.2/5)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือกาชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
(ศ 3.2 ป.6/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
การถ่ายทำหนังสั้น
- การออกแบบโปสเตอร์หนังสั้น
|
มาตรฐาน ว 3.1
สามารถค้นหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้ ( ว 3.1ป.5/2)มาตรฐาน ว 8.1 - สามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับข้อมูลที่ได้รับมาและใช้เหตุผลได้อย่างเหมาะสม ( ว 8.1 ป.5/1) - สามารถเลือกรับสื่อได้อย่างมีวิจารณญาณ ( ว 8.1 ป.5/3) - สามารถอธิบายกระบวนการทำงานและนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าสร้างสรรค์ |
|
มาตรฐาน ส 4.1
- สืบค้นความเป็นมาของสื่อในท้องถิ่นจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ( ส 4.1 ป.5/1) - สามารถนำข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับการใช้สื่อหนังสั้นได้อย่างมีเหตุผล
( ส 4.1ป.5/2)
- อธิบายความแตกต่างระหว่างหนังสั้นและละครได้
( ส 4.1 ป.5/3)
|
มาตรฐาน ส 2.1
- สามารถยกตัวอย่างและปฏิบัติตนตาม สถานภาพ บทบาท สิทธิและเสรีภาพ และหน้าที่ในฐานะพลเมืองดี ( ส 2.1 ป.5/1) - เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตในสังคมไทย( ส2.1 ป.5/3)มาตรฐาน ส 2.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประโยชน์ที่ชุมชนจะได้รับจากสื่อนำมาปรับใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวันได้( ส 2.2 ป.5/3)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานอย่างเป็นระบบ ประณีต และมีความคิดสร้างสรรค์ ( ง 1.1 ป.5/2) -ปฏิบัติตนอย่างมีมารยาทในการทำงานกับสมาชิกในกลุ่ม ( ง 1.1 ป.5/3)
มาตรฐาน ง 3.1
ค้นหา รวบรวมข้อมูลที่สนใจ และเป็นประโยชน์จากแหล่งข้อมูล ที่หลากหลายได้ ( ง 3.1 ป.5/1) |
มาตรฐาน พ 4.1
- ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้เสริมสร้างสุขภาพร่างกายของตนเองได้ ( พ 4.1 ป.5/3) - สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างเหมาะสม ( พ 4.1 ป.5/3)มาตรฐาน พ5.1 สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์ อิทธิพลของสื่อที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ( พ 5.1ป.5/1) |
มาตรฐาน ศ 1.1
- สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการที่แตกต่างกัน ( ศ 1.1 ป.5/2) - วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนักและ วรรณะสี ในชิ้นงานเกี่ยวกับสื่อการออกแบบโปสเตอร์หนังสั้นได้ได้ ( ศ 1.1 ป.5/3) - บรรยายประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ ที่มีผลต่อชีวิตของตนเองและสังคมได้( ศ 1.1ป.5/7)
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
- เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฎศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
(ศ 3.1 ม.2/5)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือกาชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
(ศ 3.2 ป.6/2)
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
- เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฎศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
(ศ 3.1 ม.2/5)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือกาชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
(ศ 3.2 ป.6/2)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคม
|
ประวัติศาสตร์
|
หน้าที่พลเมือง
|
การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี
|
สุขศึกษาและ
พละศึกษา
|
ศิลปะ
|
|
I Movie
-เครื่องมือ
-การถ่ายทอด และ เผยแพร่
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องการสร้างหนังสั้นที่จะเรียนรู้ ด้วยความสนใจ ( ว 8.1 ป.5/1) - วางแผนการใช้เครื่องมือ และกระบวนการสร้างหนังสั้นได้อย่างเหมาะสม ( ว 8.1 ป.5/2) - แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ อธิบายและสรุปสิ่งที่เรียนรู้รายสัปดาห์ได้ ( ว 8.1 ป.5/6) - นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยการสร้างโฆษณา หนังสั้น ให้ผู้อื่นเข้าใจ |
มาตรฐาน ส 1.1
อธิบายองค์ประกอบและความสำคัญของบุคลากรและการกระบวน การสร้างหนังสั้น ( ส 1.1 ป.5/1)มาตรฐาน ส1.2 มีมารยาทของความเป็นสื่อที่ดี ปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กฎหมายกำหนด ( ส 1.2ป.5/3 |
มาตรฐาน ส 4.1
รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับการสร้างหนังสั้นอย่างมีเหตุผล ( ส4.1 ป.5/2) |
มาตรฐาน ส 2.1
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และเผยแพร่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของชุมชนผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ ( ส 2.1 ป.5/4)มาตรฐาน ส 2.2 วิเคราะห์สังเคราะห์ประโยชน์และโทษที่ชุมชนจะได้รับการเผยแพร่สื่อที่เราสร้างสรรค์ได้ ( ส 2.2 ป.5/3)
จุดเน้นที่ 3
- มีส่วนร่วมในการสร้างและปฏิบัติตามข้อตกลง
กติกาของห้องเรียน (3.1/ป.5/6)
- ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของครอบครัวและห้องเรียน
(3.2/ป.5/7)
จุดเน้นที่ 4
ยอมรับและอยู่ร่วมกับกับผู้อื่นอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
(4.1/ป.5/8)
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตัวเอง(5/ป.5/10)
|
มาตรฐาน ง 1.1
- อธิบายเหตุผลในการทำงาน แต่ละขั้นตอนการสร้าหนังสั้น อย่างถูกต้องตามกระบวนการ ( ง 1.1 ป.5/1) - ใช้ทักษะการจัดการ ในการทำงานในการสร้างหนังสั้น อย่างเป็นระบบ ประณีต และมีความคิดสร้างสรรค์ ( ง 1.1 ป.5/2) - มีจิตสำนึกในการ เผยแพร่ทางสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างมีคุณค่า ( ส 1.1 ป.5/4) |
มาตรฐาน พ 3.1
- สามารถแสดงภาพเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน สมมุติบทบาท ที่จะถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ ( พ 3.1 ป.5/1) - ควบคุมการเคลื่อนไหว ในเรื่องการรับแรง การใช้แรง และควบคุมสมดุลในการสร้างหนังสั้น ( พ 3.1 ป.5/3)มาตรฐาน พ 5.1 - วิเคราะห์ผลกระทบของ การรับชม รับฟังสื่อ ที่มีผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา |
มาตรฐาน ศ 1.1
- เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่ต่างกัน
(ศ 1.1 ป.5/ 2)
- วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี (ศ 1.1 ป.5/3)
- ระบุปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น (ศ 1.1 ป.5/6) - บรรยายประโยชน์ และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม (ศ 1.1 ป.5/7)
- อธิบายหลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการสร้าง
มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่างๆ
(ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางาน
(ศ 1.1 ม.2/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพ
แผนผังและภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ
(ศ 1.1 ป.6/7)
มาตรฐาน ศ 2.1
สามารถเลือกดนตรีประกอบในการใช้สร้างโฆษณา หรือหนังสั้น เพื่อสื่อถึงอารมณ์ของการแสดง ( ศ 2.2ป.5/1)มาตรฐาน ศ 3.1 อธิบายประโยชน์ และโทษ ที่ได้รับจากการชมสื่อ โฆษณา หรือหนังสั้นได้
( ศ 3.1ป.5/6)
มาตรฐาน ศ 3.1
- แสดงนาฏศิลป์และการละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ 3.1 ม.1/3)
- ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
- เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
- เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฎศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ
(ศ 3.1 ม.2/5)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 3.1
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือกาชมการแสดงนาฏศิลป์และการละคร
(ศ 3.2 ป.6/2
|
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย: หนังสั้น
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Quarter 2 ประจำปีการศึกษา 2559
หน่วย: หนังสั้น
คำถามหลัก (Big Question)
- หนังสั้นคืออะไร
แล้วจะสร้างได้อย่างไร?
ภูมิหลังของปัญหา:
ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อต่างๆสามารถเข้าถึงเด็กและเยาวชนได้อย่างรวดเร็วและหลายช่องทาง
ปัจจุบันสื่อหนังสั้นเข้ามามีบทบาทสำคัญและเป็นที่นิยมแพร่หลายในสังคม เนื่องด้วยเนื้อหาของหนังสั้นมีเนื้อหาสะท้อนมุมมองในการคิด อิสระในการตีความ รวมทั้งเป็นการเล่าเรื่องราววิถีชีวิตเหตุการณ์จริงนำมาถ่ายทอดผ่านภาพ ความรู้สึกและการแสดง ซึ่งการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้ทุกคนทุกกลุ่มสามารถสร้างสื่อหนังสั้นได้อย่างง่ายและรวดเร็ว
ดังนั้นพี่ป.5 จึงอยากเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์ผ่านการใช้สื่อไอทีที่หลากหลายสะท้อนมุมมองของตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
เป้ามายความเข้าใจ Understanding
Goals:
- นักเรียนเข้าใจและสามารถเล่าเรื่อง
ถ่ายทอดความรู้สึกและการตีความของตนเองผ่านศิลปะหนังสั้นได้อย่างสร้างสรรค์
- นักเรียนสามารถออกแบบและสร้างหนังสั้นได้อย่างสร้างสรรค์
ปฎิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย: หนังสั้น
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 Quarter 2 ประจำปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์ : สร้างแรง / เรื่องที่อยากเรียนรู้
Key Questions :
ใน
Quarter นี้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร
เพราะเหตุใดถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น?”
เครื่องมือคิด Round robin
Black board share
Think pair share Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อและอุปกรณ์ - คลิปหนังสั้นเรื่องปลาว่ายทวนน้ำ ไข่ ,เกลือแลกพริก , boy Genius |
- ครูเปิดคลิปหนังสั้นเรื่องปลาว่ายทวนน้ำ ไข่ ,เกลือแลกพริก , boy Genius
ให้นักเรียนดูหลังจากดูเสร็จครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“ในเนื้อเรื่องคิดว่าเนื้อเรื่องสื่อถึงอะไร
จากเรื่องที่ดูสื่อถึงเรื่องอะไรทำไมถึงสื่อเรื่องนั้น ใครเป็นคนดำเนินเรื่อง จุดเปลี่ยนของเรื่องเป็นอย่างไร?”
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู - ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สิ่งที่ได้ดูที่ได้ดู“ถอดบทเรียนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากหนังสั้น” โดยครูแจกกระดาษ ขนาด A43 ให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดร่วมกัน และนำเสนอ Show and Share - นักเรียนร่วมกันเลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้ผ่านเครื่องมือคิดBlack board share
-
ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม
“ใน Quarter
นี้นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น?”
-
นักเรียนช่วยกันเลือกเรื่องที่อยากจะเรียน
ผ่านเครื่องมือคิด Blackboard
Share
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?”
-
นักเรียนช่วยกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
ผ่านเครื่องมือคิด Think
Pair Share
-
นักเรียนแต่ละคนช่วยกันทำป้ายหน่วยการเรียนรู้ตกแต่งหน้าห้อง
-
นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
1 ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น
Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่1
|
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- เลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการเรียนรู้
ชิ้นงาน
- สรุปเรื่องที่ได้จากหนังสั้น
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์1
|
ความรู้:
เข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ได้รับชมได้ ทั้งสามารถให้เหตุผลเรื่องที่อยากเรียนรู้ได้ ทักษะ : ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
|
โจทย์ : วางแผนการเรียนรู้
Key Questions :
นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน
Quarter2อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
เครื่องมือคิด
Blackboard share
Mind mapping
Show and Share
Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์ -กระดาษบรู๊ฟ
-สี / ปากกาเคมี
-บรรยากาศในห้องเรียน
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาร่วมกันเกี่ยวกับหน่วยการเรียนรู้
- ครูเชิญครูณีมาพานักเรียนทำกิจกรรมแอ็คชั่น
9 ช่องเพื่อเป็นพื้นฐานในการแสดงหนังสั้น
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้หน่วยใน Quarter2อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?” - นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นร่วมกันโดยผ่านเครื่องมือคิด Blackboard Share
- นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับ หน่วยการเรียนรู้
- นักเรียนทุกคนระดมความคิด
เพื่อทำปฏิทินการเรียนรู้
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ของตนเอง
ในรูปแบบ Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องอะไรบ้างในสัปดาห์นี้?”
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันผ่านเครื่องมือคิด Round
Rubin
- นักเรียนทุกคน Show
and Share นำเสนอชิ้นงาน Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้ของตนเองให้ครูและเพื่อนๆฟัง
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่2
|
ภาระงาน
-ร่วมกันตั้งชื่อโครงงานที่น่าสนใจ
- เขียนอธิปรายสิ่งที่เรียนรู้แล้ว /สิ่งที่อยากเรียนรู้ - เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- นำเสนอปฏิทินการเรียนรู้
ชิ้นงาน
-สิ่งที่รู้แล้ว และสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้ก่อนเรียน (Mind Mapping )
- ทำปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ 2
|
ความรู้:
สามารถออกแบบวางแผนการเรียนรู้ และการทำงานตามความความสนใจได้อย่างเป็นขั้นตอน ทักษะ : ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ: - เคารพสิทธิ์และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นเช่น การไม่พูดแทรก ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
-
คิดจินตนาการเชื่อมโยงจากสิ่งที่ได้
สิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิงได้
-
มีความรับผิดชอบงานตามที่ได้รับมอบหมาย เช่น การส่งงานตรงตามเวลา
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3
|
โจทย์ : บทบาทหน้าที่การทำงาน
(กองถ่ายหนังสั้น
/การสร้างหนังสั้น/อุปกรณ์การทำหนังสั้น)
Key Questions :
นักเรียนจะหาข้อมูลและนำเสนอการสร้างหนังสั้นอย่างไรให้เพื่อนได้เข้าใจเกี่ยวกับหนังสั้น
เครื่องมือคิด
Round Robin
Show
and Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์ - หนังสือ
- อินเตอร์เน็ต
-
ครู
-
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับหนังสั้น boy Genius (เป็นเรื่องของผู้กำกับที่พยายามถ่ายหนัง
แต่ก็มีอุปสรรค์ในการถ่าย ในเรื่องนี้จะมีตำแหน่งต่างๆของกองถ่ายหนัง) ในสัปดาห์ที่
1
-
ครูเปิดหนังสั้นเรื่องลูกชายและเรื่องทางฝันให้นักเรียนดู
หลังจากดูจบครูตั้งคำถามกระตุ้นการ “คิดในเนื้อเรื่องคิดว่าเนื้อเรื่องสื่อถึงอะไร
จากเรื่องที่ดูสื่อถึงเรื่องอะไรทำไมถึงสื่อเรื่องนั้น ใครเป็นคนดำเนินเรื่อง จุดเปลี่ยนของเรื่องเป็นอย่างไร?”
-
ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับคำถามจากการดูคลิปหนังสั้นเรื่องลูกชายและเรื่องทางฝัน
-
ครูกระตุ้นคำถาม นักเรียนคิดว่า การสร้างหนังสั้นมีองค์ประกอบและกระบวนการสร้างอย่างไร
-
ครูแบ่งกลุ่มให้นักเรียน 4 กลุ่ม หาข้อมูลจากพี่ๆมัธยมและครูดังนี้
- องค์ประกอบของหนังสั้น
-
กองถ่ายหนังสั้น (6 ตำแหน่ง
แต่ละตำแหน่งทำหน้าที่อะไรบ้าง)
-
กระบวนการสร้างหนังสั้น
- อุปกรณ์การทำหนังสั้น
- นักเรียนเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนองาน Show and shared
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มถอดกิจกรรมจากสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านการแสดงแอคติ้ง
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่3
|
ภาระงาน
-ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับองค์ประกอบการทำหนังสั้น
-
ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับถอดกิจกรรมจากสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านการแสดงแอคติ้ง
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ข้อมูลองค์ประกอบกระบวนการทำหนังสั้น
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์3
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายบทบาทหน้าที่การทำงาน
องค์ประกอบกระบวนการทำหนังสั้นให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ร่วมได้
ทักษะ ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
|
โจทย์ : - เรียนรู้การแสดง
ความแตกต่างหนังสั้นและละคร
-
การเลือกเรื่องที่จะนำมาทำหนังสั้น
Key Questions :
- นักเรียนคิดว่าหนังสั้นและละครเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?
เครื่องมือคิด Round Robin
Show
and Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์ - บรรยากาศในห้องเรียน |
-
ครูตั้งคำถาทกระตุ้นการคิดนักเรียนคิดว่าหนังสั้นและละครเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?
-
ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาวิเคาระห์เกี่ยวกับความเหมือนและแตกต่างของหนังสั้นและละคร
- นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่มเลือกเรื่องดังนี้
1.
หนังสือจากวรรณกรรม
-
หนังสือวรรณกรรมอธิฐานสิจ๊ะกับนางฟ้าสีเขียว ตอน
ฉันเป็นอะไรได้หลายอย่าง
-
หนังสือวรรณกรรมสายลมกับทุ่งหญ้าตอน
ในอ้อมกอดและตอนผู้ที่สะสมถูกแย่งชิง
-
จากเช้าวันหนึ่งถึงก่อนโลกาวินาศ ตอน เช้าวันหนึ่ง
2.เลือกเรื่องเองตามความสนใจ
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาวิเคราะห์เรื่องเพื่อหาตรีมเรื่องทำหนังสั้น
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกครูที่ปรึกษาในการสร้างหนัง(ครูณี ครูแป้ง
ครูภรและครูดอกไม้)
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มพูดคุยสนทนาออกแบบวางแผนรวมกันกับคุณครูประจำกลุ่ม
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอความคืบหน้าของงานให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
-
ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
4
|
ภาระงาน
-
ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาจากการทำงานและวิธีการแก้ไขปัญหา
- นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบ Story broad และบทบาทหน้าที่ในการทำงาน - เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
-การเลือกเรื่องหนังสั้น
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์4
|
ความรู้ :
นักเรียนสามารถวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
|
โจทย์ : เขียนบท/Storyboard
Key Questions :
- นักเรียนจะเขียนบทหนังสั้นอย่างไร ให้สมจริง น่าเชื่อถือ มีเหตุมีผล
สนุก และท้าทายคนดู
-
นักเรียนพบปัญหาอะไรบ้างจากการทำงานและจะแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร?
เครื่องมือคิด Round Robin
Show
and Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์ - บรรยากาศในห้องเรียน |
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนจะเขียนบทหนังสั้นอย่างไร
ให้สมจริง น่าเชื่อถือ มีเหตุมีผล สนุก และท้าทายคนดู?
-
นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4
กลุ่ม
-
นักเรียนแบ่งหน้าที่ตำแหน่งต่างๆในกองถ่าย
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนบทหนังสั้น
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียน story
board
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอชื่อหนังสั้น story boardและตำแหน่งของตนเอง ให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดนักเรียนพบปัญหาอะไรบ้างจากการทำงานและจะแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร?
-
ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
-- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
|
ภาระงาน
-
ครูและนักเรียนพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาจากการทำงานและวิธีการแก้ไขปัญหา
- นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบ Story broad และบทบาทหน้าที่ในการทำงาน - เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่5
ชิ้นงาน
-Story broad หนังสั้น
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
5
|
ความรู้ :
นักเรียนสามารถวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6-7
|
โจทย์
: ถ่ายทำหนังสั้น/ตัดต่อ
Key Questions :
-
นักเรียนจะวางแผนในการถ่ายทำหนังสั้นอย่างไร ให้กองถ่ายหนังสั้นราบรื่น
-
นักเรียนจะตัดต่อหนังสั้นอย่างไรให้คนดูเข้าใจ รู้สึกคล้อยตามตามและน่าตื่นเต้น
-นักเรียนพบปัญหาอะไรบ้างจากการทำงานและจะแก้ไขปัญหานั้นอย่างไร?
เครื่องมือคิด Round Robin
Show
and Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์
- IPad
-กล้อง
-
โปรแกรมตัดต่อต่างๆเช่น Sony Vegas Pro ,Premiere Pro
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะวางแผนการทำงานเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรให้เสร็จทันตามเวลาที่กำหนด”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการทำงาน
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเริ่มถ่ายทำ
หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าและสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ปัญหาที่พบ แนวทางแก้ไข
- ครูใช้คำถามนำ “นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับอะไรบ้างในวันที่ผ่านมา
แต่ละกลุ่มเกิดปัญหาอะไรขึ้นบ้าง และมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร ?”
- ครูติดตามการทำงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าของงาน
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนแต่ละกลุ่มพบปัญหาอะไรจากการทำงานและจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร?
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำงานและบันทึกลงในสมุด
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือตัดต่องาน ตามที่วางแผนงานไว้โดยมีคุณครูคอยให้คำแนะนำเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมตัดต่อต่างๆเช่น
Sony Vegas Pro ,Premiere Pro
-
ครูเชิญวิทยากรสาธิตและแนะนำเทคนิคการตัดต่อเพิ่มเติมเพื่อที่จะนำมาปรับใช้ในการสร้างงาน
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้จากการทำกิจกรรม
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือตัดต่องานหนังสั้น
ตามที่วางแผนงานไว้จนเสร็จสมบูรณ์
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าของการ
ทำงานการตัดต่อรวมทั้งปัญหาอุปสรรคที่พบในระหว่างการทำงาน
-
ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกัน
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานหนังสั้นที่ตัดต่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานของแต่ละกลุ่มในสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว
และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
6-7
|
ภาระงาน
- การถ่ายทำหนังสั้น
- ครูและนักเรียนพูดคุยสนทนาแลกเปลี่ยนและสะท้อนสิ่งที่ได้จากการทำงาน
ชิ้นงาน
- คลิปที่ได้จากการถ่ายทำหนังสั้น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์6-7
|
ความรู้:
- นักเรียนสามารถทำงานตามแผนที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นสร้างสรรค์โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการทำงานได้อย่างคุ้มค่า
- นักเรียนสามารถเข้าใจและสามารถสร้างสรรค์หนังสั้นที่มีคุณภาพผ่านโปรแกรมตัดต่อต่างๆเช่น
Sony Vegas Pro ,Premiere Pro
ทักษะ ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
|
โจทย์ : ฉายหนัง
Key Questions :
-
นักเรียนจะมีวิธีการเผยแพร่หนังสั้นอย่างไรให้น่าสนใจและน่าติดตาม
เครื่องมือคิด
Round Robin
Show
and Share
Brainstorms
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
สื่อ / อุปกรณ์ - โปรแกรมตัดต่อต่างๆเช่น Sony Vegas Pro ,Premiere Pro
-
บรรยากาศในห้องเรียน
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา
-
ครูและนักเรียนแต่ละกลุ่มนำภาพที่นักเรียนถ่ายมาดู
พร้อมกับแนะนำและทำการแก้ไขฉากนั้นโดยให้นักเรียนไปถ่ายทำฉากนั้นใหม่
- นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันเขียนสรุปกระบวนการสร้างหนังสั้น ของกลุ่มตนเองในรูปแบบ
Flow
Chart พร้อมนำเสนอให้ครูและเพื่อนๆได้รับฟัง
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด”นักเรียนจะมีวิธีการเผยแพร่หนังสั้นอย่างไรให้น่าสนใจและน่าติดตาม”
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบทำโปสเตอร์หนังสั้นไปติดประกาศ
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มฉายหนังสั้นกลุ่มของตัวเองให้ครุและเพื่อนๆได้รับฟังภายในห้องเรียน
-
ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับงานของแต่ละกลุ่มในสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว
และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่เรียน
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
8
|
ภาระงาน
ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นและเสนอแนะแนวเกี่ยวกับการแก้ปัญหาร่วมกัน
-
ครูและนักเรียนพูดคุยเรื่องการออกแบบโปสเตอร์หนังสั้น
ชิ้นงาน - หนังสั้น
-
โปสเตอร์หนังสั้น
|
ความรู้: นักเรียนสามารถเข้าใจและสามารถสร้างสรรค์การออกแบบโปสเตอร์หนังสั้นให้น่าสนใจและน่าติดตาม
รวมทั้งสามารถเผยแพร่หนังสั้นสร้างสรรค์
ให้ผู้อื่นได้เรียนรู้ร่วมได้ ทักษะ ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
|
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
Key Questions :
-
นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร ด้วยวิธีการใดบ้าง?
-
การเตรียมนำเสนอผลงานของนักเรียน เกิดปัญหาและอุปสรรคหรือไม่ เพราะเหตุใด
และมีวิธีแก้ไขอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Round Rubin
Mind Mapping Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
-
ครู
-
นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อ / อุปกรณ์ - บรรยากาศในห้องเรียน - กระดาษ A4 |
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง
ในหน่วยหนังสั้น?”
- นักเรียนนำเสนอ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในประเด็นคำถาม ผ่านเครื่องมือ (Round
Robin)
- นักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้เป็นการสรุปองค์ความรู้ความเข้าใจใน
Quarter2 ในรูปแบบ mind mapping
-
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนคิดว่าการเรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter
นักเรียนสามารถตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้หรือไม่ เพราะเหตุใด?”
- นักเรียนร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด“จากการเรียนรู้หน่วย
“หนังสั้น” นักเรียนจะถ่ายทอดความเข้าใจให้ผู้อื่นได้เข้าใจได้อย่างไร
ด้วยวิธีการใดบ้าง?”
- นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสามารถและความถนัดในการถ่ายทอด/เผยแพร่องค์ความรู้ความเข้าใจ
เช่น การแสดงละคร การนำเสนอด้วยคำพูด การนำเสนอด้วยภาพ เป็นต้น
- นักเรียนลงมือฝึกซ้อมในแต่ละกลุ่มตามที่ได้จัดแบ่งไว้ในข้างต้น
-
ร่วมกันสะท้อนแลกเปลี่ยน สิ่งที่ต้องเพิ่มเติมและสิ่งที่ดีแล้วจากการซักซ้อมการนำเสนอ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“จากการเรียนรู้หน่วยหนังสั้น นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง
และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำได้ดีแล้ว
และอะไรที่ตนเองต้องพัฒนาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเรียนรู้หน่วยหนังสั้น
- นักเรียนทำสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
ผ่านชิ้นงานที่หลากหลายเช่น
Flowchart, Mind Mapping ,การ์ตูนช่อง
และบรรยาย
|
ภาระงาน
- ครูและนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอดQuarter 2 - จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
ชิ้นงาน - Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นิทรรศการหนังสั้น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่
9
|
ความรู้:
นักเรียนสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับหน่วยหนังสั้น
ผ่านการจัดนิทรรศการ การนำเสนอด้วยคำพูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
และแสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
ทักษะ ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะ ICT
คุณลักษณะ: - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |